week 3
Science Experiences Management for Early Childhood
EAED3207 Time from 14.10 - 17.30pm Group Study 102
ในวันนี้ได้เรียนของ น้ำในร่างกายช่วยปรับสมดุล(อุณหภูมิ)ในร่างกาย มนุษย์เราจะขาดน้ำได้ไม่เกิน 3 วัน แต่ถ้าเป็นสัตว์ เช่น อูฐเป็นสัตว์ที่มีความอดทนค่อนข้างสูงมาก สามารถอาศัยอยู่ได้โดยไม่ต้องกินอาหารหรือน้ำได้เป็นเวลานานถึง10วันหรือ2สัปดาห์ เพราะอูฐมีไขมันสะสมไว้ในหนอกและร่างกายเก็บรักษาน้ำได้เป็นอย่างดีจึงสามารถอยู่ในที่ทุรกันดารได้ เช่น ทะเลสาป
ปรากฏการณ์จากอุทกภาค
อุทกภาค หมายถึง
อุทกภาค (hydrosphere) หมายถึงส่วนที่เป็นน้ำที่อยู่บนพื้นโลกทั้งหมด ประกอบด้วย น้ำจืดที่อยู่ในแหล่งน้ำผิวดินและน้ำใต้ดินร้อยละ3.0 และน้ำเค็มที่อยู่ในเทละและมหาสมุทรร้อยละ
97.0
น้ำจืด เป็นน้ำที่กระจายอยู่ตามแหล่งน้ำทั้งในระดับที่ผิวดิน น้ำที่อยู่บนผิวดิน เช่น น้ำจืดที่กระจายอยู่ตามแม่น้ำ ลำธาร หนอง คลอง บึง
รวมถึงธารน้ำแข็งที่ปกคลุมอยู่บนยอดเขาสูง ๆ ที่ละลายเป็นน้ำจืด
ส่วนน้ำใต้ดินและน้ำบาดาล เป็นน้ำที่ไหลซึมลงไปใต้ดิน
ตามช่องว่างของดินหรือหินผุ มีลักษณะคล้ายธารน้ำใต้ดิน น้ำจืดจำนวนมากจะอยู่ในรูปของน้ำแข็งโดยเฉพาะบริเวณขั้วโลก
น้ำเค็มทกระจายอยู่ตามแหล่งน้ำต่างๆของโลก ได้แก่ มหาสมุทร
และทะเล
ปรากฏการณ์จากอุทกภาคที่สำคัญ
มีดังนี้
1. วัฎจักรของน้ำ หมายถึง
การหมุนเวียนเปลี่ยนสถานะของน้ำ จากแหล่งน้ำต่างๆ เช่น
มหาสมุทร ทะเล แม่น้ำ หนอง บึง ทะเลสาบ เป็นต้น ระเหยกลายเป็นไอน้ำลอยขึ้นไปในอากาศรวมกับไอน้ำที่มาจากต้นไม้
คือในขณะที่ต้นไม้ดูด้ำจากพื้นดินแล้วปล่อยให้น้ำออกสู่บรรยากาศโดยผ่านใบไม้ด้วยกระบวนการที่เรียกว่า
การหายใจ ไอน้ำในบรรยากาศจะรวมตัวกันและกลั่นตัวเป็นเม็ดฝนหรือหิมะ
ตกลงมายังแหล่งน้ำต่างๆ และซึมลงใต้ดิน หมุนเวียนกันอยู่เช่นนี้ตลอดไป
ปริมาณน้ำที่โลกมีอยู่เกิดจากฝนตกลงในทะเล มหาสมุทรร้อยละ 77 ฝนตกลงในแผ่นดินร้อยละ 23 ส่วนการระเหยเป็นไอน้ำขึ้นไปในบรรยากาศจะระเหยจากแหล่งน้ำต่างๆร้อยละ 84
และระเหยจากดินและจากการคายน้ำของพืชอีกร้อยละ 16
ในวันนี้ได้เรียนของ น้ำในร่างกายช่วยปรับสมดุล(อุณหภูมิ)ในร่างกาย มนุษย์เราจะขาดน้ำได้ไม่เกิน 3 วัน แต่ถ้าเป็นสัตว์ เช่น อูฐเป็นสัตว์ที่มีความอดทนค่อนข้างสูงมาก สามารถอาศัยอยู่ได้โดยไม่ต้องกินอาหารหรือน้ำได้เป็นเวลานานถึง10วันหรือ2สัปดาห์ เพราะอูฐมีไขมันสะสมไว้ในหนอกและร่างกายเก็บรักษาน้ำได้เป็นอย่างดีจึงสามารถอยู่ในที่ทุรกันดารได้ เช่น ทะเลสาป
ปรากฏการณ์จากอุทกภาค
อุทกภาค หมายถึง
อุทกภาค (hydrosphere) หมายถึงส่วนที่เป็นน้ำที่อยู่บนพื้นโลกทั้งหมด ประกอบด้วย น้ำจืดที่อยู่ในแหล่งน้ำผิวดินและน้ำใต้ดินร้อยละ3.0 และน้ำเค็มที่อยู่ในเทละและมหาสมุทรร้อยละ
97.0
น้ำจืด เป็นน้ำที่กระจายอยู่ตามแหล่งน้ำทั้งในระดับที่ผิวดิน น้ำที่อยู่บนผิวดิน เช่น น้ำจืดที่กระจายอยู่ตามแม่น้ำ ลำธาร หนอง คลอง บึง
รวมถึงธารน้ำแข็งที่ปกคลุมอยู่บนยอดเขาสูง ๆ ที่ละลายเป็นน้ำจืด
ส่วนน้ำใต้ดินและน้ำบาดาล เป็นน้ำที่ไหลซึมลงไปใต้ดิน
ตามช่องว่างของดินหรือหินผุ มีลักษณะคล้ายธารน้ำใต้ดิน น้ำจืดจำนวนมากจะอยู่ในรูปของน้ำแข็งโดยเฉพาะบริเวณขั้วโลก
น้ำเค็มทกระจายอยู่ตามแหล่งน้ำต่างๆของโลก ได้แก่ มหาสมุทร
และทะเล
ปรากฏการณ์จากอุทกภาคที่สำคัญ
มีดังนี้
1. วัฎจักรของน้ำ หมายถึง
การหมุนเวียนเปลี่ยนสถานะของน้ำ จากแหล่งน้ำต่างๆ เช่น
มหาสมุทร ทะเล แม่น้ำ หนอง บึง ทะเลสาบ เป็นต้น ระเหยกลายเป็นไอน้ำลอยขึ้นไปในอากาศรวมกับไอน้ำที่มาจากต้นไม้
คือในขณะที่ต้นไม้ดูด้ำจากพื้นดินแล้วปล่อยให้น้ำออกสู่บรรยากาศโดยผ่านใบไม้ด้วยกระบวนการที่เรียกว่า
การหายใจ ไอน้ำในบรรยากาศจะรวมตัวกันและกลั่นตัวเป็นเม็ดฝนหรือหิมะ
ตกลงมายังแหล่งน้ำต่างๆ และซึมลงใต้ดิน หมุนเวียนกันอยู่เช่นนี้ตลอดไป
ปริมาณน้ำที่โลกมีอยู่เกิดจากฝนตกลงในทะเล มหาสมุทรร้อยละ 77 ฝนตกลงในแผ่นดินร้อยละ 23 ส่วนการระเหยเป็นไอน้ำขึ้นไปในบรรยากาศจะระเหยจากแหล่งน้ำต่างๆร้อยละ 84
และระเหยจากดินและจากการคายน้ำของพืชอีกร้อยละ 16
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น